GORAGOD.com

freelance, web developer, web designer, hosting, domain name

ป้ายกำกับ MySql

เรียนรู้วิธีลบแถวที่ซ้ำกันใน MySQL อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น Subquery, Temporary Table และ ROW_NUMBER() พร้อมคำแนะนำสำหรับการรักษาคุณภาพข้อมูล
การใช้ฟังก์ชัน LAG() ใน MySQL สามารถช่วยให้คุณดึงข้อมูลจากแถวก่อนหน้ามาใช้งานได้ ในกรณีที่คุณต้องการดูค่าของฟิลด์ในแถวก่อนหน้าในผลลัพธ์ของคุณ เช่น การคำนวณการเปลี่ยนแปลงของค่าในแถวปัจจุบันเทียบกับแถวก่อนหน้า
หากเราติดตั้ง phpMyAdmin ตามปกติ ที่มาพร้อมกับ Appserver หรือ XAMPP เราอาจกรอกรหัสผ่านของ MySQL เป็นค่าว่างไว้ หรืออาจกรอกรหัสผ่านแบบง่ายๆไว้
การนำเข้าข้อมูลขนาดใหญ่ไปยังฐานข้อมูล MySQL ด้วย phpMyAdmin มักจะเจอข้อจำกัดเรื่องขนาดของไฟล์ที่อัปโหลดไปบน Server ทำให้การนำเข้าข้อมูลขนาดใหญ่มักจะไม่สำเร็จ
ลองดูคำสั่ง SQL ด้านล่างทั้งสองคำสั่งนี้นะครับ คำสั่งทั้งสองให้ผลลัพท์เหมือนกัน แตกต่างกันที่ คำสั่งแรกมีการใช้ HAVING ส่วนอีกคำสั่งมีการใส่คำสั่งคำนวณลงใน WHERE ตรงๆ
ตัวอย่างนี้จะอธิบายวิธีการเขียน QUERY ของ MySQL เอาข้อมูลรายการล่าสุดออกมา โดยมีเงื่อนไขว่า หากเงื่อนไขแรกเท่ากัน จะไปตรวจสอบเงื่อนไขที่สองอีกที
หลายๆคนอาจเคยปวดหัวกับการเรียงลำดับภาษาไทยบน MySql กันมาพอสมควรเนื่องจากคำภาษาไทยสามารถมีสระอยู่ข้างหน้าได้ ทำให้การเรียงลำดับคำที่มีสระอยู่ด้านหน้าถูกจัดลำดับไปหลังๆ (หลัง ฮ)
วันนี้ได้รับรายงานว่าเจอข้อผิดพลาดจากฐานข้อมูล MariaDB บนข้อมูลชนิด float โดยที่เมื่อใส่จำนวนเต็ม 1223484 หรือ 3660208 ในตอนที่ select ข้อมูลกลับออกมา กลับได้ค่าไม่เหมือนเดิม
การเขียนโค้ดที่ดี นอกจากจะต้องอ่านง่ายแล้ว ยังต้องเขียนโค้ดให้ประมวลผลได้เร็วด้วย ยิ่งโค้ดของเราช้าเท่าไรประสิทธิภาพของแอพพลิเคชั่นของเราก็จะน้อยลง ส่งผลให้ที่ Server ขนาดเดียวกัน จะรับผู้เยี่ยมชมพร้อมๆกันได้น้อยกว่า
Foreign Key (FK) คือ การสร้างกฏความสัมพันธ์ระหว่างสองตารางเข้าด้วยกัน โดยอาจเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง คอลัมน์สองคอลัมน์ หรือกลุ่มของคอลัมน์...
ในตอนที่แล้วผมได้อธิบายถึงวิธีสรุปข้อมูลแบบรายเดือน รายปี ไปแล้ว ซึ่งการสรุปข้อมูลแบบนี้ จำนวนคอลัมน์ มันคงที่ คือ 1 - 12 (หรือรายเดือน) ทีนี้หากเราต้องการจะสรุปข้อมูลแบบที่คอลัมน์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ล่ะ จะทำยังไงดี
เทคนิคการสรุปข้อมูลด้วย MySql ที่เก็บข้อมูลเป็นรายครั้ง เช่น รายการ order ของสินค้า เป็นตารางสรุปยอดขาย รายเดือน รายปี
วิธีการจัดเก็บข้อมูลแบบ one-to-many หรือ การเก็บข้อมูลแบบที่มีความสัมพันธ์ของข้อมูลจากตารางหลักหนึ่งรายการไปยังข้อมูลของตารางรองหลายรายการ ยกตัวอย่างเช่น ตารางหมวดหมู่ ที่แต่ละหมวดหมู่ มีหมวดหมู่ย่อยอีกหลายรายการเป็นต้น
^