การใช้งาน Template กับเว็บไซต์ (ตอนที่ 3)
การใช้งาน Template ร่วมกับ PHP
แบบนี้เป็นแบบที่ใช้กันทั่วไปครับ เช่นของ CMS ต่างๆ หลักการก็คือใช้ฟังก์ชั่นหรือตัวแปร เพื่อ echo เอาข้อมูลที่ต้องการแสดงมาใส่ลงใน Template
ตัวอย่าง Templateของ WordPress ส่วนของ Title เช่น
ฟังก์ชั่น bloginfo ก็เป็นฟังก์ชั่น PHP ที่ทำการอ่านค่ามาแสดง เช่นเดียวกับ wp_title ซึงเมื่อแสดงผลก็จะเป็นข้อความในส่วนของไตเติลบาร์
แบบอื่นๆ ก็เช่นการ echo ค่าจากตัวแปรของ PHP ใส่ลงใน Template
ก่อนอื่นเตรียมค่าตัวแปรที่ต้องการใส่บน template ก่อน แล้วก็ include template มาแสดงผล ตัวอย่างเป็นการแสดงผล 2 ครั้ง ด้วยค่าตัวแปรต่างกันบนกรอบเดียวกัน
โค้ดหน้า template.php
ผลลัพท์ก็เป็นดังรูปข้างบนนี่แหละครับ
แบบนี้เป็นแบบที่ใช้กันทั่วไปครับ เช่นของ CMS ต่างๆ หลักการก็คือใช้ฟังก์ชั่นหรือตัวแปร เพื่อ echo เอาข้อมูลที่ต้องการแสดงมาใส่ลงใน Template
ตัวอย่าง Templateของ WordPress ส่วนของ Title เช่น
<title><?php bloginfo('name'); ?><?php wp_title(); ?></title>
ฟังก์ชั่น bloginfo ก็เป็นฟังก์ชั่น PHP ที่ทำการอ่านค่ามาแสดง เช่นเดียวกับ wp_title ซึงเมื่อแสดงผลก็จะเป็นข้อความในส่วนของไตเติลบาร์
แบบอื่นๆ ก็เช่นการ echo ค่าจากตัวแปรของ PHP ใส่ลงใน Template
<?php
$title = 'AJAX CMS';
$header = 'Goragod.com';
include( 'template.php' );
$title = 'GCMS';
$header = 'AJAX CMS';
include( 'template.php' );
?>
ก่อนอื่นเตรียมค่าตัวแปรที่ต้องการใส่บน template ก่อน แล้วก็ include template มาแสดงผล ตัวอย่างเป็นการแสดงผล 2 ครั้ง ด้วยค่าตัวแปรต่างกันบนกรอบเดียวกัน
<div style="border: 1px solid green; margin: 10px auto; display: table; float: none;">
<div style="padding: 2px; width: 100px; background-color: rgb(240, 240, 240); color: rgb(102, 102, 102);"><?php echo $title?></div>
<div style="padding: 10px 2px; width: 100px;"><?php echo $header ?></div>
</div>
โค้ดหน้า template.php
AJAX CMS
Goragod.com
GCMS
AJAX CMS